หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๘)
จากฉบับที่แล้ว ผู้เขียนได้พาท่านผู้อ่านย้อนรำลึกถึงประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาที่สำคัญที่สุดช่วงหนึ่งของประเทศไทย นั่นก็คือพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ในยุคต้นรัตนโกสินทร์ คือ รัชกาลที่ ๑ ที่...
อานิสงส์การบูชาเจดีย์ด้วยดอกไม้ ๘ ดอก
“ข้าพเจ้ามีใจเลื่อมใส ยกดอกไม้ ๘ ดอก ขึ้นบูชาพระสถูปของพระกัสสปพุทธเจ้าด้วยมือของตนเอง ด้วยอานุภาพแห่งผลบุญในครั้งนั้น ทำให้เป็นผู้ที่มีวรรณะงดงามเช่นนี้”
วัดพระธรรมกายร่วมเป็นเจ้าภาพสวดอภิธรรมพระครูสุทธิธรรมานุศาสก์ ดร. อดีตเจ้าคณะอำเภอบันนังสตา
พระเทพญาณมหามุนี คณะสงฆ์ อุบาสก - อุบาสิกวัดพระธรรมกาย และคณะกัลยาณมิตรใน ๔ จังหวัดชายแดนใต้ (ยะลา ปัตตานี นราธิวาส สงขลา) ร่วมเป็นเจ้าภาพ สวดอภิธรรม พระครูสุทธิธรรมานุศาสก์ ดร.
" กองทุนต้นสมบัติจักรพรรดิ " เพื่องานเผยแผ่พระพุทธศาสนาวิชชาธรรมกายไปทั่วโลก ประจำปีพุทธศักราช 2559
อิทธิบาท ๔ : มรดกธรรมของหลวงปู่วัดปากน้ำ
ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา นี้เรียกว่า อิทธิบาท ๔ เป็นหัวใจแห่งความสำเร็จทั้งมวลแปลอย่างจำได้ง่ายว่า ปักใจ บากบั่น วิจารณ์ ทดลอง ไม่ว่าจะทำกิจการใด ถ้าประกอบด้วยอิทธิบาท ๔ อย่างนี้ เป็นสำเร็จทั้งสิ้น
จาก " ไอที " สู่ " ไอธรรม "
พระภิกษุรูปนี้โปรไฟล์ไม่ธรรมดา.. ท่านมีดีกรีดอกเตอร์จาก NTNU ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยใหญ่ที่สุดและมีชื่อเสียงโด่งดังที่สุดด้านวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีในประเทศนอร์เวย์ ทำให้หลายคนอยากรู้ว่าท่านคิดอย่างไรถึงมาบวช เราจึงไปเสาะหาความจริงมาเล่าสู่กันฟัง
การสวดมนต์ให้พรของพระสงฆ์มีส่วนช่วยสืบทอดพระพุทธศาสนาอย่างไร
ชีวิตประกอบด้วยกายและใจ กายต้องสืบต่อด้วยอาหารอยู่ทุกวัน ใจก็สืบต่อด้วยการหล่อเลี้ยงด้วยธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกวันเช่นกัน ซึ่งพุทธบริษัท ๔ ต่างช่วยกันสืบต่อสืบทอดอายุพระพุทธศาสนาอยู่ทุกวันด้วยข้าวปลาอาหาร
สมุดไทย...ทรงไว้ซึ่งสรรพศาสตร์และอัจฉริยภาพเชิงศิลป์
คัมภีร์ใบลานพระไตรปิฎกเป็นงานเขียนบันทึกโบราณที่ทางโครงการพระไตรปิฎก ฉบับวิชาการ มุ่งออกเดินทางสำรวจ ค้นหา และถ่ายภาพบันทึกไว้เพื่ออนุรักษ์สืบทอดเก็บไว้เป็นหลักฐานทางวิชาการต่อไปในภายภาคหน้า เพราะเป็นผลงาน....
ประวัติความเป็นมาของวันมหาปวารณา
กำเนิดวันมหาปวารณา ประวัติความเป็นมาของการทำปวารณาในวันออกพรรษาเกิดขึ้นเมื่อไร ต้องปฏิบัติอย่างไรบ้าง
"ธัมมัสสวนมัย" ฟังธรรมเป็นนิจจิตแจ่มใส
“กาเลน ธมฺมสฺสวนํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ การฟังธรรมตามกาลเป็นมงคลอย่างยิ่ง”